ระบบบำบัดชีวภาพ (แบบใช้ออกซิเจน และไม่ใช้ออกซิเจน)
ทำไมน้ำประปาไทยดื่มไม่ได้ แต่น้ำประปาต่างประเทศดื่มได้ อยากรู้ไหม เรามีคำตอบ
การบริการรับกำจัดของเสีย น้ำมันปนเปื้อนของทางบริษัท เอส เอส ซี ออยล์ จำกัด เป็นที่ยอมรับจากลูกค้าชั้นนำทั้งในประเทศ และทั่วโลก และนี่ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของลูกค้าหลักที่ไว้วางใจเลือกใช้บริการของบริษัท เอส เอส ซี here ออยล์ จำกัด
ระบบบำบัดทางกายภาพ (ระบบการกรอง การตกตะกอน ถังดักไขมัน) เป็นระบบบำบัดนำเสียที่ประหยัดพลังงานในโรงงานได้มาก
ทำไมต้องมีถังบำบัดน้ำเสียโรงงาน และ ควรเลือกใช้อย่างไร
ระบบบำบัดน้ำเสีย คือ กระบวนการช่วยกำจัดสิ่งปนเปื้อนในน้ำ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตต่าง ๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม หรือ กิจวัตรประจำวันของมนุษย์
เครื่องกรองน้ำอุตสาหกรรม คืออะไร มีความจำเป็นและประโยชน์มากแค่ไหน ควรรู้ก่อนติดตั้ง!!
การจัดการน้ำในประเทศไทย : แนวทางสู่ความยั่งยืน
ให้คำปรึกษาฟรีก่อนการติดตั้ง : สามารถให้ปคำรึกษาอย่างตรงไปตรงมา ละเอียด ไม่หมกเม็ด
เป็นการบำบัดน้ำเสียที่ได้รับความนิยมในแหล่งชุมชน เนื่องจากเป็นวิธีการที่ง่ายไม่ยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการบำบัดโดยการใช้แบคทีเรียเข้าย่อยสารอินทรีย์ซึ่งถือเป็นอาหารของแบคทีเรียที่มีอยู่ในน้ำเสียให้หมดไป แต่การดำเนินการต้องอาศัยระยะเวลาค่อนข้างนาน เละผลที่ได้จากกระบวนการย่อยสารอินทรีย์ของแบคทีเรีย คือ ก๊าซซึ่งสร้างมลภาวะทางกลิ่นให้กับชุมชน
ก่อนอื่นเราต้องทำความรู้จักกับระบบบำบัดน้ำเสียกันก่อนโดยเป็นวิธีการกำจัดสิ่งสกปรกที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท หรือ อาจเกิดจากกิจวัตรประจำวันของคนในชุมชนให้หมดไป ระบบบำบัดน้ำเสียทำให้น้ำที่เสียมีคุณภาพที่ดีมากขึ้น หรือ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมที่สุดที่จะทำให้ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม หรือ เกิดปัญหาต่อแหล่งรับน้ำเสีย ดังนั้นระบบบ่อบำบัดน้ำเสียจึงเป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างมากนั่นเอง
การกำจัดสิ่งปนเปื้อนในน้ำที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมให้หมดไป หรือมีปริมาณสิ่งปนเปื้อนในน้ำลดลงจนมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน
เราคือบริษัทเชี่ยวชาญด้านกำจัดกากอุตสาหกรรมที่ทันสมัย ทั้งขยะหรือกากจากอุตสาหกรรม แบบครบวงจร ด้วยประสบการณ์ด้านการให้บริการและผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม ทำให้เราสามารถให้คำปรึกษาได้ทั้งระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม
รวมถึงหน่วยงานระดับท้องถิ่น เช่น เทศบาลตำบล และ องค์การบริหารส่วนจังหวัด รับผิดชอบการจัดการน้ำเสียภายในชุมชน